Keyword

Abu Bakar Ash-Shidiq (2) Abu Daud (1) Abu Hurairah (2) Adab (2) Adam 'Alaihisalam (2) Adu Domba / Namimah (1) Adzab Allah (1) Agama (1) Ahli Bait (1) Ahlul Hadits (9) Ahlussunnah (2) Aib (1) Air Seni (1) Aisyah (1) Akhirat (1) Akhlak (37) Akhlaq (3) Al-Firqatun An-Najiyah (9) Al-Lajnah Ad-Daimah Lil Buhuts Al-Ilmiah Wal Ifta (1) Al-Qur'an (11) alam (1) Alam Semesta (4) Ali bin Abi Tholib (1) Aliran Sesat (3) Alkohol (6) Amal (4) Amanah (1) Amirul Mu'minin (1) Anak (1) Anak Cucu dan Mantu Rasulullah (1) Anak Haram (1) Anak Yatim (1) Anak Yatim. Puasa Asyura (1) Aqidah (83) as (1) Asma' Allah (3) At-Tirmidzi (1) Aurat (2) Ayah Dan Ibu (Orang Tua) (2) Ayat Dan Hadits (4) Ayat Kursi (3) Azab Kubur (3) Bantahan (8) Bayi (1) Beda Agama (1) Bejana (1) Belajar Islam (3) Bencong (1) Berenang. Olah Raga (1) Berkah (1) Bersedekap (1) Bid'ah (28) Bid'ah Hasanah (1) Bid'ah Pembagiannya (1) Binatang (2) Biografi (11) Birul Walidain (3) Blogger (1) Bom (2) Buah (1) Buah Manggis (1) Buah Pepaya (1) Buah Pete (1) Buah Semangka (1) Buah Sirsak (5) Bukhary (1) Bulan Muharram (1) Bulan Syawal (1) Bulughul Maram (1) Bunuh (1) Bunuh Diri. (2) Cerai (1) Ceramah (2) Cinta (5) Cinta Nabi (3) Da'i (2) Dajjal (1) Dakwah (8) Dalam Kendaraan Dan Pesawat (1) Daun Salam (1) Debat (1) Dimana Allah (2) Din (1) Do'a (21) Do'a Zakat (2) Duduk Diantara Dua Sujud (1) Duduk Istirahat (1) Dukun (4) Dzikir (9) Dzikir Pagi Dan Petang (4) Etika (1) Faham (3) Fanatik (1) Fatwa (20) Fikih (34) Fikih Ciuman (1) Fiqih (13) Fiqih Shalat (9) Firqah (8) Fitnah (1) Futur (1) Gambar / Lukisan (3) Gereja (1) Ghuluw (7) Golongan (1) Habaib / Habib (2) Haddadiy (1) Hadits (41) Hadits Arba'in (12) Hadits Lemah (7) Hadits Palsu (7) Hajr (1) Halal Haram (3) Halal Haram Makanan Minuman (3) Hamil (10) Hamil Dan Menyusui (9) Hamil Diluar Nikah (1) Harakah (1) Haram (2) Hari Iedul Fitri (2) Hari Raya (7) Harut Dan Marut (3) Hasad (1) Hasmi (1) Hati (11) Hijab (2) Hijab Jilbab Cadar (1) Hipnotis (2) Hisab (2) Hizbiy (1) Hjab Jilbab Cadar (1) Hukum (8) Hutang (3) I'tidal (1) I'tikaf (7) Ibadah (16) Ibnul Jauzi (1) Ibnul Qayyim (1) Idris 'Alaihisalam (1) Ihsan (1) Ikhlas (7) Ilmu (2) Ilmu Agama (2) Ilmu Hadits (11) Ilmu Komputer (1) Ilmu Pengasih / Pelet (1) Ilmu Pengasih / Pelet / Tiwalah (1) Ilmu Pengetahuan (2) Imam (14) Imam Ad-Darimi (1) Imam Ahmad (1) Imam An-Nasa'i (1) Imam Ibnu Majah (1) Imam Malik (1) Imam Muslim (1) Imam Nawawi (12) Imam Syafi'i (20) Iman (4) Imsak (1) Info Dakwah (2) Insan Kamil (1) Islam (2) Isra' Mi'raj (1) Istri (2) Istri-istri Rasulullah (3) ITE (3) Jalalain (1) Jampi / Mantra (1) Jantung (1) Jibril (1) Jihad (5) Jima (1) Jimat / Tamimah (2) Jin (8) Jual Beli (1) Kafir (2) Karomah (1) Kata Aku Dan Kami Dalam Al-Qur'an (2) Kaum Padri (1) Keajaiban (1) Kehidupan (1) Keluarga (2) Keluarga Rasulullah (1) Keraguan / Was-was (1) Kesehatan (20) Khamer (3) Khawarij (2) Khitan (1) Khusyu' (2) Kiamat (10) Kisah Nyata (1) Kisah Teladan (13) Kitab (2) Kubur (6) Laknat (1) Lamar/Pinangan (1) Lemah Lembut (1) Luar Angkasa (1) Maaf (1) Mabuk (2) Mahram (1) Makam / Kuburan (5) Makanan Minuman (1) Maksiat (7) Malaikat (3) Malam Lailatul Qadar (3) Mandi (1) Manhaj Salaf (16) Marah (1) Mashalih Murshalah (1) Masjid (6) Mata 'Ain (1) Maulid Nabi (6) Membungkukkan Badan (2) Mencium Tangan (3) Menyusui (1) Mimpi (1) Minuman (1) Muawiyyah (1) Mubaligh (2) Mudik Lebaran (1) Muhammad Shalallahu'alaihi wa Salam (2) MUI (2) Musik (1) Muslimah (16) Nabi (10) Najd (1) Najis (1) Nasab (1) Nasehat (46) Neraka (4) Niat (7) Niat Puasa Ramadhan (2) Nikah (20) Nikmat Kubur (3) Nyanyian (2) Obat (3) Oral Seks (1) Pacaran (1) Pakaian (1) Paranormal (3) Parfum (1) Pecandu Internet (1) Pegunungan Dieng (1) Pendidikan (2) Pengobatan (2) Penuntut Ilmu (4) Penutup Aurat (1) Penyakit Hati (4) Perbedaan (1) Pernikahan (10) Perpecahan Ahlul Bid'ah (1) Persatuan Ahlussunnah (3) Perselisihan (2) Peta (1) Petasan Mercon Kembang Api (2) Photo (3) Piring (1) Pria (1) Puasa (21) Puasa 3 Hari Tiap Bulan (1) Puasa Arafah (1) Puasa Asyura (2) Puasa Daud (1) Puasa Muharram (1) Puasa Qadha Fidyah (10) Puasa Ramadhan (45) Puasa Senin Kamis (2) Puasa Sunnah (4) Puasa Sya'ban (1) Puasa Syawal (3) Pujian (2) Qadha (9) Qunut (1) Radio (2) Rahasia (1) Ramadhan (48) Ramalan (2) Rambut (1) Rasul (9) Rasulullah (4) Remaja (3) Riba (2) Riya' (3) Rizki (1) Rokok (5) Ruh (2) Ruku' (1) Rukun Iman (2) Rukun Islam (1) Rumah Tangga (2) Ruqyah (2) Sabar (6) Safar (1) Sahabat (12) Sakit (1) Salafiy (14) Salam (2) Sanad (1) Sejarah (1) Seks / Sex (1) Seledri (1) Semir (1) Shahabiyyah (5) Shalat (39) Shalat Dhuha (3) Shalat Ied (4) Shalat Jama'ah (1) Shalat Jum'at (2) Shalat Tarawih (2) Shalawat (3) Shirath Jembatan Diatas Neraka (1) Sifat-sifat Allah (18) Sihir (11) Simbol (1) Suami-Istri (4) Sujud (2) Sum'ah (1) Sunnah (6) Surat (2) Surat Al-'Ashr (1) Surat Al-Fatihah (1) Surat Ibrahim Ayat 27 (1) Surga (6) Sutra (1) Syafa'at (3) Syafi'i (1) Syaikh (1) Syaikh Abdul Aziz Bin Baz (3) Syaikh Abdurrozzaq Bin Abdul Muhsin Al-Abbad (2) Syaikh Ibnu Jibrin (1) Syaikh Muhammad bin Ibrahim Al-Hamd (1) Syaikh Muhammad Bin Shalih Al-Utsaimin (12) Syaikh Muhammad Nashiruddin Al-Albani (2) Syaikh Muqbil Bin Hadi Al-Wadi'i (1) Syaikh Shalih Fauzan Bin Abdillah Al-Fauzan (4) Syaikhul Islam (3) Syaikhul Islam Abu Ismail Ash-Shabuni (3) Syaikhul Islam Ibnu Taimiyah (25) Syair (1) Syaithan / Setan (5) Syari'at (1) Syi'ah (5) Syiah (5) Syirik (18) Ta'addud / Poligami (1) Tabdi (1) Tafsir (7) Tahdzir (1) Tahun Baru (3) Tajwid (1) Takbiiratul Ihram (1) Takdir (2) Takfiri (2) Taklid (1) Talak (1) Tangis (1) Tarahum Mohon Rahmat (1) Tarikh (7) Tasyabuh (9) Tasyahud Akhir (1) TASYAHUD AWWAL (1) Taubat (3) Tauhid (73) Tauhid Asma Wa Sifat (2) Tauhid Rububiyyah (1) Tauhid Uluhiyyah (1) Tawasul (3) Tazkiyatun Nufus (25) Teman (1) Terjemahan Al-Qur'an (1) Tertawa (1) Thaifatul Manshurah (8) Timbangan (1) Tipu Muslihat Abu Salafy (1) Touring (1) Tsa'labah Bin Hathib (1) Turun Sujud (1) TV (2) Ucapan (3) Ujub (8) Ulama (8) Umar bin Khattab (2) Umum (1) Undang-undang (3) Usap Muka (1) Valentine's Day (2) Video (5) Wahabi (2) Wali (2) Wanita (12) Waria (1) Wudhu (3) Wudhu Wanita (1) Zakat (10) Zakat Fitri (9) Zinah (3)

Selasa, 13 November 2012

SUDAH LAMA "NGAJI" TAPI AKHLAK TIDAK BAIK

Sudah Lama "Ngaji" Tapi Akhlak Tidak Baik



SUDAH LAMA "NGAJI" TAPI AKHLAK TIDAK BAIK
30 Komentar // 10 September 2011

Akh, ana lebih senang bergaul dengan ikhwan yang akhlaknya baik walaupun sedikit ilmunya”. [SMS seorang ikhwan]
Kok dia suka bermuka dua dan dengki sama orang lain, padahal ilmunya masyaAlloh, saya juga awal-awal “ngaji” banyak tanya-tanya agama sama dia”. [Pengakuan seorang akhwat]
Ana suka bergaul dengan akh Fulan, memang dia belum lancar-lancar amat baca kitab tapi akhlaknya sangat baik, murah senyum, sabar, mendahulukan orang lain, tidak egois, suka menolong dan ana lihat dia sangat takut kepada Alloh, baru melihatnya saja, ana langsung teringat akherat”. [Pengakuan seorang ikhwan]


Mungkin fenomena ini kadang terjadi atau bahkan sering kita jumpai di kalangan penuntut yang sudah lama “ngaji”1 . Ada yang telah ngaji 3 tahun atau 5 tahun bahkan belasan tahun tetapi akhlaknya tidak berubah menjadi lebih baik bahkan semakin rusak. 
Sebagian dari kita sibuk menuntut ilmu tetapi tidak berusaha menerapkan ilmunya terutama akhlaknya. Sebaliknya mungkin kita jarang melihat orang seperti dikomentar ketiga yang merupakan cerminan keikhlasannya dalam beragama meskipun nampaknya ia kurang berilmu dan. semoga tulisan ini menjadi nasehat untuk kami pribadi dan yang lainnya.

Akhlak adalah salah satu tolak ukur iman dan tauhid

Hal ini yang perlu kita camkan sebagai penuntut ilmu agama, karena akhlak adalah cerminan langsung apa yang ada di hati, cerminan keikhlasan dan penerapan ilmu yang diperoleh. Lihat bagimana A’isyah rodhiallohu ‘anha mengambarkan langsung akhlak Rosululloh shallallahu ‘alaihi wa sallam yang merupakan teladan dalam iman dan tauhid, A’isyah rodhiallohu ‘anha berkata,

 كَانَ خُلُقُهُ الْقُرْآنَ

 “Akhlak beliau adalah Al-Quran” 
[HR. Muslim no. 746, Abu Dawud no. 1342 dan Ahmad 6/54]

Yang berkata demikian Adalah A’isyah rodhiallohu ‘anha, Istri yang paling sering bergaul dengan beliau, dan perlu kita ketahui bahwa salah satu barometer ahklak seseorang adalah bagaimana akhlaknya dengan istri dan keluarganya. Rasulolluh shallallahu ‘alaihi wa sallam bersabda,

خَيْرُكُمْ خَيْرُكُمْ لِأَهْلِهِ وَأَنَا خَيْرُكُمْ لِأَهْلِي

Sebaik-baik kalian adalah yang paling baik terhadap keluarganya. Dan akulah yang paling baik di antara kalian dalam bermuamalah dengan keluargaku.” 
[H.R. Tirmidzi dan beliau mengomentari bahwa hadits ini hasan gharib sahih. Ibnu Hibban dan Al-Albani menilai hadits tersebut sahih].

Akhlak dirumah dan keluarga menjadi barometer karena seseorang bergaul lebih banyak dirumahnya, bisa jadi orang lain melihat bagus akhlaknya karena hanya bergaul sebentar. Khusus bagi suami yang punya “kekuasaan” atas istri dalam rumah tangga, terkadang ia bisa berbuat semena-mena dengan istri dan keluarganya karena punya kemampuan untuk melampiaskan akhlak jeleknya dan hal ini jarang diketahui oleh orang banyak. Sebaliknya jika di luar rumah mungkin ia tidak punya tidak punya kemampuan melampiaskan akhlak jeleknya baik karena statusnya yang rendah (misalnya ia hanya jadi karyawan rendahan) atau takut dikomentari oleh orang lain.

Dan tolak ukur yang lain adalah takwa sehingga Rosululloh shallallahu ‘alaihi wa sallam menggabungkannya dengan akhlak, beliau bersabda,

اتَّقِ اللَّهَ حَيْثُمَا كُنْتَ وَأَتْبِعِ السَّيِّئَةَ الْحَسَنَةَ تَمْحُهَا وَخَالِقِ النَّاسَ بِخُلُقٍ حَسَنٍ

Bertakwalah kepada Allah di mana saja engkau berada. Iringilah kejelekan dengan kebaikan niscaya ia akan menghapuskan kejelekan tersebut dan berakhlaklah dengan manusia dengan akhlak yang baik.” 
(HR. Tirmidzi no. 1987 dan Ahmad 5/153. Abu ‘Isa At Tirmidzi mengatakan bahwa hadits ini hasan shahih)

Syaikh Abdurrahman bin Nashir As-Sa’diy rohimahullohu menjelaskan hadist ini,
“Barangsiapa bertakwa kepada Alloh, merealisasikan ketakwaannya dan berakhlak kepada manusia -sesuai dengan perbedaan tingkatan mereka- dengan akhlak yang baik, maka ia medapatkan kebaikan seluruhnya, karena ia menunaikan hak hak Alloh dan Hamba-Nya. 
[Bahjatu Qulubil Abror hal 62, cetakan pertama, Darul Kutubil ‘ilmiyah]

Demikian pula sabda beliau shallallahu ‘alaihi wa sallam,

أَكْثَرُ مَا يُدْخِلُ اَلْجَنَّةَ تَقْوى اَللَّهِ وَحُسْنُ اَلْخُلُقِ

 ”Yang paling banyak memasukkan ke surga adalah takwa kepada Allah dan akhlak yang mulia” 
(HR At-Tirmidzi, Ibnu Maajah dan Al-Haakim dan dihasankan oleh Syaikh Al-Albani)

Tingginya ilmu bukan tolak ukur iman dan tauhid

Karena ilmu terkadang tidak kita amalkan, yang benar ilmu hanyalah sebagai wasilah/perantara untuk beramal dan bukan tujuan utama kita. Oleh karena itu Alloh Azza wa Jalla berfirman,

 جَزَاء بِمَا كَانُوا يَعْمَلُونَ

 “Sebagai balasan bagi apa yang telah mereka kerjakan.” 
[Al-Waqi’ah: 24]

Alloh TIDAK berfirman,

جَزَاء بِمَا كَانُوا يعَلمُونَ

 “Sebagai balasan apa yang telah mereka ketahui.”

Dan cukuplah peringatan langsung dalam Al-Qur’an bagi mereka yang berilmu tanpa mengamalkan,

 يَا أَيُّهَا الَّذِينَ آَمَنُوا لِمَ تَقُولُونَ مَا لَا تَفْعَلُونَْ كَبُرَ مَقْتاً عِندَ اللَّهِ أَن تَقُولُوا مَا لَا تَفْعَلُونَ

 ”Hai orang-orang yang beriman, mengapa kamu mengatakan hal yang tidak kamu perbuat. Amat besar kebencian Allah bahwa kamu mengatakan apa saja yang tidak kamu kerjakan.” 
(QS.Ash-Shaff : 3)

Dan bisa jadi Ilmunya tinggi karena di karuniai kepintaran dan kedudukan oleh Alloh sehingga mudah memahami, menghapal dan menyerap ilmu.

Ilmu Agama hanya sebagai wawasan ?

Inilah kesalahan yang perlu kita perbaiki bersama, sebagian kita giat menuntut ilmu karena menjadikan sebagai wawasan saja, agar mendapat kedudukan sebagai seorang yang tinggi ilmunya, dihormati banyak orang dan diakui keilmuannya. Kita perlu menanamkan dengan kuat bahwa niat menambah ilmu agar menambah akhlak dan amal kita.

Ibnul Qayyim rahimahullah mengatakan,
“Salah satu tanda kebahagiaan dan kesuksesan adalah tatkala seorang hamba semakin bertambah ilmunya maka semakin bertambah juga tawadhu’ dan kasih sayangnya. Dan semakin bertambah amalnya maka semakin meningkat pula rasa takut dan waspadanya.” 
[Al-Fawa’id hal 171, Maktabah Ast-Tsaqofiy]

Sibuk belajar ilmu fiqh dan Ushul, melupakan ilmu akhlak dan pensucian jiwa

Yang perlu kita perbaiki bersama juga, sebagian kita sibuk mempelajari ilmu fiqh, ushul tafsirushul fiqh, ilmu mustholah hadist dalam rangka memperoleh kedudukan yang tinggi, mencapai gelar “ustadz”, menjadi rujukan dalam berbagai pertanyaan. Akan tetapi terkadang kita lupa mempelajari ilmu akhlak dan pensucian jiwa, berusaha memperbaiki jiwa dan hati kita, berusaha mengetahui celah-celah setan merusak akhlak kita serta mengingat bahwa salah satu tujuan Rosululloh shallallahu ‘alaihi wa sallam diutus adalah untuk menyempurnakan Akhlak manusia.

Rosululloh shallallahu ‘alaihi wa sallam bersabda,

بُعِثْتُ لِأُتَمِّمَ صَالِحَ الْأَخْلاَقِ

Aku diutus untuk menyempurnakan akhlak yang mulia.” 
[H.R. Al-Hakim dan dinilai sahih oleh beliau, adz-Dzahabi dan al-Albani].

Ahlak yang mulia juga termasuk dalam masalah aqidah

Karena itu kita jangan melupakan pelajaran akhlak mulia, Syaikhul Islam Ibnu Taimiyyah rahimahullah memasukkan penerapan akhlak yang mulia dalam permasalahan aqidah. Beliau berkata,
“Dan mereka (al-firqoh an-najiah ahlus sunnah wal jama’ah) menyeru kepada (penerapan) akhlak yang mulia dan amal-amal yang baik. Mereka meyakini kandungan sabda Nabi shallallahu ‘alaihi wa sallam, “Yang paling sempuna imannya dari kaum mukminin adalah yang paling baik akhlaknya diantara mereka“. Dan mereka mengajakmu untuk menyambung silaturahmi dengan orang yang memutuskan silaturahmi denganmu, dan agar engkau memberi kepada orang yang tidak memberi kepadamu, engkau memaafkan orang yang berbuat zhalim kepadamu, dan ahlus sunnah wal jama’ah memerintahkan untuk berbakti kepada kedua orang tua, menyambung silaturahmi, bertetangga dengan baik, berbuat baik kepada anak-anak yatim, fakir miskin, dan para musafir, serta bersikap lembut kepada para budak. Mereka (Ahlus sunnah wal jama’ah) melarang sikap sombong dan keangkuhan, serta merlarang perbuatan dzolim dan permusuhan terhadap orang lain baik dengan sebab ataupun tanpa sebab yang benar. Mereka memerintahkan untuk berakhlak yang tinggi (mulia) dan melarang dari akhlaq yang rendah dan buruk”. 
[lihat Matan 'Aqiidah al-Waashithiyyah]

Bagi yang sudah “ngaji” Syaitan lebih mengincar akhlak bukan aqidah

Bagi yang sudah “ngaji”, yang notabenenya insyaAlloh sudah mempelajari ilmu tauhid dan aqidah, mengetahui sunnah, mengetahui berbagai macam maksiat, tidak mungkin syaitan mengoda dengan cara mengajaknya untuk berbuat syirik, melakukan bid’ah, melakukan maksiat akan tetapi syaitan berusaha merusak Akhlaknya. Syaitan berusaha menanamkan rasa dengki sesama, hasad, sombong, angkuh dan berbagai akhlak jelak lainnya.

Syaitan menempuh segala cara untuk menyesatkan manusia, tokoh utama syaitan yaitu Iblis berikrar untuk hal tersebut setelah Alloh azza wa jalla menghukumnya dan mengeluarkannya dari surga, maka iblis menjawab:

قَالَ فَبِمَا أَغْوَيْتَنِي لأَقْعُدَنَّ لَهُمْ صِرَاطَكَ الْمُسْتَقِيمَْ ثُمَّ لآتِيَنَّهُم مِّن بَيْنِ أَيْدِيهِمْ وَمِنْ خَلْفِهِمْ وَعَنْ أَيْمَانِهِمْ وَعَن شَمَآئِلِهِمْ وَلاَ تَجِدُ أَكْثَرَهُمْ شَاكِرِينَ

Karena Engkau telah menghukumku tersesat, aku benar-benar akan(menghalang-halangi mereka dari jalan Engkau yang lurus, kemudian aku akan datangi mereka dari muka dan dari belakang mereka, dari kanan dan dari kiri mereka. Dan Engkau tidak akan mendapati kebanyakan mereka bersyukur.” 
(Al-A’raf: 16-17)

Kita butuh teladan akhlak dan takwa

Disaat ini kita tidak hanya butuh terhadap teladan ilmu tetapi kita lebih butuh teladan ahklak dan takwa, sehingga kita bisa melihat dengan nyata dan mencontoh langsung akhlak dan takwa orang tersebut terutama para ustadz dan syaikh.

Yang perlu kita camkan juga, jika menuntut ilmu dari seseorang yang pertama kali kita ambil adalah akhlak dan adab orang tersebut baru kita mengambil ilmunya. Ibu Imam Malik rahimahullahu, sangat paham hal ini dalam mendidik anaknya, beliau memerhatikan keadaan putranya saat hendak pergi belajar. 
Imam Malik rahimahullahu mengisahkan:
“Aku berkata kepada ibuku, ‘Aku akan pergi untuk belajar.’ ‘Kemarilah!’ kata ibuku, ‘Pakailah pakaian ilmu!’ Lalu ibuku memakaikan aku mismarah (suatu jenis pakaian) dan meletakkan peci di kepalaku, kemudian memakaikan sorban di atas peci itu. Setelah itu dia berpesan, ‘Sekarang, pergilah untuk belajar!’ 

Dia juga pernah mengatakan, ‘Pergilah kepada Rabi’ah (guru Imam Malik, pen)! Pelajarilah adabnya sebelum engkau pelajari ilmunya!’. (Waratsatul Anbiya’, dikutip dari majalah Asy Syariah No. 45/IV/1429 H/2008, halaman 76 s.d. 78)
Kemudian pada komentar ketiga,
Baru melihatnya saja, ana langsung teringat akherat
Hal inilah yang kita harapkan, banyak teladan langsung seperti ini. Para ulama pun demikian sebagaimana 

Ibnul Qoyyim rahimahullahu berkata,
“Kami (murid-murid Ibnu Taimiyyah), jika kami ditimpa perasaan takut yang berlebihan, atau timbul dalam diri kami prasangka-prasangka buruk, atau (ketika kami merasakan) kesempitan hidup, kami mendatangi beliau, maka dengan hanya memandang beliau dan mendengarkan ucapan beliau, maka hilang semua kegundahan yang kami rasakan dan berganti dengan perasaan lapang, tegar, yakin dan tenang.” 
[Al Waabilush Shayyib hal 48, cetakan ketiga, Darul Hadist, Maktabah Syamilah]

Sudah lama “ngaji” tetapi kok susah sekali memperbaiki Akhlak?

Memang memperbaiki Akhlak adalah hal yang tidak mudah dan butuh “mujahadah” perjuangan yang kuat. Selevel para ulama saja membutuhkan waktu bertahun-tahun untuk memperbaiki akhlak.

Berkata Abdullah bin Mubarak rahimahullahu :

طلبت الأدب ثلاثين سنة وطلبت العلم عشرين سنة كانوا يطلبون الأدب ثم العلم

“Saya mempelajari adab selama 30 tahun dan saya mempelajari ilmu (agama) selama 20 tahun, dan ada-lah mereka (para ulama salaf) memulai pelajaran mereka dengan mempelajari adab terlebih dahulu kemudian baru ilmu”. 
[Ghayatun-Nihayah fi Thobaqotil Qurro I/446, cetakan pertama, Maktabah Ibnu Taimiyyah, Maktabah Syamilah]

Dan kita tetap terus menuntut ilmu untuk memperbaiki akhlak kita karena ilmu agama yang shohih tidak akan masuk dan menetap dalam seseorang yang mempunyai jiwa yang buruk.

Imam Al Ghazali rahimahullahu berkata,
“Kami dahulu menuntut ilmu bukan karena Allah ta’ala , akan tetapi ilmu enggan kecuali hanya karena Allah ta’ala.” 
[Thabaqat Asy Syafi’iyah, dinukil dari tulisan ustadz Kholid syamhudi, Lc, majalah Assunah].

Jadi hanya ada kemungkinan ilmu agama tidak akan menetap pada kita ataupun ilmu agama itu akan memperbaiki kita. Jika kita terus menerus menuntut ilmu agama maka insyaAlloh ilmu tersebut akan memperbaiki akhlak kita dan pribadi kita.

Mari kita perbaiki akhlak untuk dakwah

orang salafi itu ilmunya bagus, ilmiah dan masuk akal tapi keras dan mau menang sendiri” [pengakuan seseorang kepada penyusun]

Karena akhlak buruk, beberapa orang menilai dakwah ahlus sunnah adalah dakwah yang keras, kaku, mau menang sendiri, sehingga beberapa orang lari dari dakwah dan menjauh. Sehingga dakwah yang gagal karena rusaknya ahklak pelaku dakwah itu sendiri. Padahal rosululloh shallallahu ‘alaihi wa sallam bersabda,

يَسِّرُوا وَلَا تُعَسِّرُوا وَبَشِّرُوا وَلَا تُنَفِّرُوا

Mudahkan dan jangan mempersulit, berikan kabar gembira dan jangan membuat manusia lari” [HR. Bukhari, Kitabul ‘Ilmi no.69]

Karena Akhlak yang buruk pula ahlus sunnah berpecah belah, saling tahzir, saling menjauhi yang setelah dilihat-lihat, sumber perpecahan adalah perasaan hasad dan dengki, baik antar ustadz ataupun antar muridnya. Dan kita patut berkaca pada sejarah bagaimana Islam dan dakwah bisa berkembang karena akhlak pendakwahnya yang mulia.

Jangan lupa berdoa agar akhlak kita menjadi baik

Dari Ali bin Abi Thalib Rodhiallahu ‘anhu bahwa Rasululloh shallallahu ‘alaihi wa sallam dalam salah satu do’anya beliau mengucapkan:

,أَللَّهُمَّ اهْدِنِيْ لِأَحْسَنِ الأَخْلَاقِفَإِنَّهُ لَا يَهْدِيْ لِأَحْسَنِهَا إِلَّاأَنْتَ
وَاصْرِفْ عَنِّيْ سَيِّئَهَالَايَصْرِفُ عَنِّيْ سَيِّئَهَاإِلَّاأَنْتَ

Ya Alloh, tunjukkanlah aku pada akhlak yang paling baik, karena tidak ada yang bisa menunjukkannya selain Engkau. Ya Alloh, jauhkanlah aku dari akhlak yang tidak baik, karena tidak ada yang mampu menjauhkannya dariku selain Engkau.” 
(HR. Muslim 771, Abu Dawud 760, Tirmidzi 3419)

Dan doa dijauhkan dari akhlak yang buruk,

اللَّهُمَّ إِنِّى أَعُوذُ بِكَ مِنْ مُنْكَرَاتِ الأَخْلاَقِ وَالأَعْمَالِ وَالأَهْوَاءِ

Ya Alloh, aku berlindung kepadamu dari akhlak, amal dan hawa nafsu yang mungkar” 
(HR. Tirmidzi no. 3591, dishohihkan oleh Al-Albani dalam Dzolalul Jannah: 13)

Wa shallallahu ‘ala nabiyyina Muhammad wa ‘ala alihi wa shohbihi ajma’in. Walamdulillahi robbil ‘alamin.

Disempurnakan di Lombok, Pulau seribu Masjid
27 Ramadhan 1432 H Bertepatan 27 Agustus 2011

Semoga Allah meluruskan niat kami dalam menulis dan memperbaiki akhlak kami

Penyusun: Raehanul Bahraen

[1] ngaji: istilah yang ma’ruf, yaitu seseorang mendapat hidayah untuk beragama sesuai dengan Al-Qur’an dan As-sunnah dengan pemahaman salafus shalih, istilah ini juga identik dengan penuntut ilmu agama


.
======================


เรียนมาก็นานมากแล้ว แต่ มารยาทก็ยังไม่ดีขึ้นสักที!!
oleh Zunnur Abu Hanzalah pada 28 September 2011 pukul 10:09 ·

 “เรียนมาก็นานมากแล้ว แต่ มารยาทก็ยังไม่ดีขึ้นสักที!! 
โดย  เรฮานุล บะหฺร็อยนฺ
แปลและเรียบเรียงโดย Zunnur

**(คำว่า เรียนในที่นี้ หมายถึง คนๆหนึ่งที่ได้รับฮิดายะฮฺ ยึดมั่นในศาสนาอย่างถูกต้องตามอัล-กุรอานและอัส-สุนนะฮฺด้วยความเข้าใจของสะละฟุศศอลิหฺ รวมถึงผู้กำลังศึกษาความรู้ศาสนาด้วย)


พี่น้องครับ ผมมีความสุขเมื่อได้อยู่กับพี่น้องที่มีมารยาทดี แม้ว่าความรู้จะน้อยก็ตาม
(จาก SMS พี่น้องท่านหนึ่ง)

เขาชอบทำตัวสองหน้าและอิจฉาคนอื่น ทั้งๆที่ตัวเองก็มีความรู้ มาชาอัลลอฮ
จริงๆฉันเองก็เคยเรียนรู้ เคยถามคำถาม(หาคำตอบ)ศาสนามากมายจากเขา
(คำบอกเล่าจากพี่น้องมุสลิมะฮฺท่านหนึ่ง)

ฉันชอบอยู่กับคนๆนั้น ใช่ เขาอาจะไม่ได้เต็มที่กับการอ่านหนังสือ
แต่เขามารยาทดีมาก มีรอยยิ้ม อดทน เสียสละ ไม่เห็นแก่ตัว ชอบช่วยเหลือผู้อื่น  
และฉันรู้สึกว่า ฉันยำเกรงต่ออัลลอฮมากๆ มองเขาทีไร ทำให้ฉันนึกถึงอาคิเราะฮฺทุกทีเลย
(คำบอกเล่าจากพี่น้องมุสลิมีนคนหนึ่ง)

          เป็นไปได้ว่า มันอาจจะเกิดขึ้นหรือเราอาจจะพบเจอบ่อยครั้งจากบรรดาผู้แสวงหาความรู้มานาน บางคนเรียนมาแล้ว 3 ปี บ้างก็ 5 ปี บ้างก็มากกว่าสิบปี แต่ว่า มารยาทของเขากลับไม่มีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นเลย อีกทั้งยังเสื่อมถอยลงไปอีก บางคนในหมู่พวกเขาคร่ำเคร่งในการศึกษาหาความรู้ แต่กลับไม่มีความพยายามที่จะนำความรู้ที่ร่ำเรียนนำมาใช้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องมารยาท และในขณะเดียวกัน เราก็ไม่ค่อยได้มองผู้อื่นสักเท่าไหร่ ซึ่งพวกเขาจะคอยเป็นกระจกสะท้อนที่บริสุทธิ์ใจในการยึดมั่นต่อศาสนาของเรา แม้นว่าพวกเขาจะมีความรู้เพียงเล็กน้อยก็ตาม  หวังว่า งานเขียนชิ้นนี้จะเป็นคำตักเตือนที่ยังประโยชน์แก่ตัวผมเองและพี่น้องทุกคน

มารยาทที่ดี คือ หนึ่งมาตรฐานวัดอีมานและเตาฮีด

          สิ่งนี้จะต้องเป็นความรู้ทางศาสนาที่เราจำต้องจดจำไว้อย่างแม่ยำ เพราะมารยาทนั้น คือ กระจกสะท้อสิ่งที่มีอยู่ในหัวใจ คือ กระจกสะท้อนความบริสุทธิ์ใจและความรู้ที่นำไปใช้จริง พึงดูการฉายภาพของท่านหญิงอาอิชะฮฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮา ถึงมารยาทที่งดงามของท่านเราะสูลุลลอฮ ศ็อลลัลลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม อันเป็นแบบอย่างในการอีมานและเตาฮีด ท่านหญิงอาอิชะฮฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮา กล่าวว่า

كَانَ خُلُقُهُ الْقُرْآنَ

มารยาทท่าน คือ อัล-กุรอาน
(บันทึกโดยมุสลิม หมายเลขหะดีษที่ 746 , อบูดาวูด หมายเลขหะดีษที่ 1342 และอะหฺมัด 6/54)

          ผู้ที่กล่าวถ้อยคำข้างต้นนั้น คือ ท่านหญิงอาอิชะฮฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮา ภรรยาผู้ใกล้ชิดสนิทสนมกับท่านนบีมากที่สุด และพึงทราบว่า มาตรฐานสำคัญในการชี้วัดมารยาทของคนๆหนึ่ง ก็คือ มารยาทของเขาต่อภรรยาและครอบครัวนั้นเป็นเช่นไร?

خَيْرُكُمْ خَيْرُكُمْ لِأَهْلِهِ وَأَنَا خَيْرُكُمْ لِأَهْلِي

คนที่ดีที่สุดในหมู่พวกท่าน คือคนที่ดีที่สุดสำหรับครอบครัวของตนเอง
และฉันคือคนที่ดีที่สุดในหมู่พวกท่านสำหรับครอบครัวของฉัน
(บันทึกโดย ติรมีซีย์ และท่านได้แสดงความเห็นว่า หะดีษนี้หะสัน เฆาะรีบ เศาะฮีหฺ , ท่านอิบนุ หิบบาน
และชัยคฺอัล-อัลบานีย์ กล่าวว่า หะดีษนี้ เศาะฮีหฺ)

          มารยาทขณะอยู่ที่บ้านและกับครอบครัว คือ มาตรฐานสำคัญ เพราะคนๆหนึ่งจะใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับคนในบ้านเป็นหลัก เพราะเป็นไปได้ว่าคนอื่นอาจมองว่าเขามีมารยาทที่ดีงาม ทั้งที่ผู้คนเหล่านี้นอยู่กับเขาเพียงชั่วครู่เท่านั้น มารยาทขณะอยู่ที่บ้านและกับครอบครัว จึงเป็นมาตรฐานสำคัญมากในการวัดความสวยงามของมารยาทของคนๆหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สามีผู้มีอำนาจเหนือภรรยาของตนเองในเรื่องครอบครัว เพราะบางครั้งเขาอาจกระทำการใดๆโดยพละการต่อภรรยาและครอบครัวของเขา เพราะเขามีอำนาจและสามารถที่จะแสดงมารยาทที่ไม่ดีของตนเองออกมาได้เสมอ แต่เมื่อออกนอกบ้านเมื่อไหร่ เขาก็จะไม่ปล่อยประพฤติแห่งมารยาทที่ไม่ดีออกมา เพราะกลัวว่าตนจะถูกดูแคลนและถูกตำหนิจากผู้คน

          มาตรฐานวัดต่อมาก็คือ ตักวา(ความยำเกรงต่ออัลลอฮ) ท่านเราะสูลุลลอฮ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ได้รวมสิ่งนี้เข้ากับมารยาทที่ดีงาม ท่านกล่าวว่า

اتَّقِ اللَّهَ حَيْثُمَا كُنْتَ وَأَتْبِعِ السَّيِّئَةَ الْحَسَنَةَ تَمْحُهَا وَخَالِقِ النَّاسَ بِخُلُقٍ حَسَنٍ

จงยำเกรงต่ออัลลอฮในทุกเมื่อ และจงติดตามความชั่วร้ายด้วยความดีงาม แน่แท้มันจะลบล้างบาปแห่งความผิดนั้น และจงมีมารยาทที่ดีงามต่อเพื่อนมนุษย์
(บันทึกโดย ติรมีซีย์ หมายเลขหะดีษที่ 1987 และอะหฺมัด 5/153  
อบูอีซา อัต-ติรมีซีย กล่าวว่า หะดีษนี้หะสันเศาะฮีหฺ)

          ชัยคฺ อับดุรเราะหฺมาน บิน นะศีร อัส-สะอฺดีย์ เราะหิมะฮุลลอฮ ได้อธิบายหะดีษนี้ไว้ว่า

           “ผู้ใดมีความยำเกรงต่ออัลลอฮ และยืนหยัดบนการยำเกรงนั้น และมีมารยาทที่ดีงามต่อเพื่อนมนุษย์ เขาจะได้รับความดีงามทั้งหมด เพราะเขาได้ดำรงสิทธิต่างๆของอัลลอฮและของบ่าวของพระองค์(บะหฺญาตุ กุลูบิล อับรอร หน้า 62 พิมพ์ครั้งที่หนึ่ง , ดารุล กุตูบิล อิลมียยะฮฺ)

          และท่านเราะสูลุลลอฮ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ยังกล่าวอีกว่า

أَكْثَرُ مَا يُدْخِلُ اَلْجَنَّةَ تَقْوى اَللَّهِ وَحُسْنُ اَلْخُلُقِ

ส่วนมากที่เข้าสวรรค์นั้น คือบุคคลที่ยำเกรงต่ออัลลอฮ และมีมารยาทที่สวยงาม
(บันทึกโดย ติรมีซีย์ อิบนุมาญะฮฺ และอัล-หากิม ชัยคฺอัล-อัลบานีย์กล่าวว่า หะสัน)

ความรู้ที่มากมายมิใช่มาตรฐานวัดอีมานและเตาฮ๊ด

          เพราะบางครั้งเรามิได้ปฏิบัติตามความรู้ ที่ถูกต้องนั้น ความรู้เป็นเพียงแค่บันไดสู่การการประกอบอาม้าล และมันมิใช่เป้าหมายหลักของเรา ดังนั้น อัลลอฮุ อัซซะวะญัล จึงตรัสว่า

جَزَاء بِمَا كَانُوا يَعْمَلُونَ

ทั้งนี้เป็นการตอบแทนเนื่องจากความดีที่พวกเขากระทำไว้
(สูเราะฮฺอัล-วากิอะฮฺ 56 : 24)

          อัลลอฮมิได้ทรงตรัสว่า

جَزَاء بِمَا كَانُوا يعَلمُونَ

ทั้งนี้เป็นการตอบแทนเนื่องจากความดีที่พวกเขารู้

          และเพียงพอแล้วกับคำเตือนจากอัล-กุรอานสำหรับผู้ที่มีความรู้แต่ไม่ปฏิบัติ

يَا أَيُّهَا الَّذِينَ آَمَنُوا لِمَ تَقُولُونَ مَا لَا تَفْعَلُونَ كَبُرَ مَقْتاً عِندَ اللَّهِ أَن تَقُولُوا مَا لَا تَفْعَلُونَ

เป็นที่น่าเกลียดยิ่งที่อัลลอฮ การที่พวกเจ้าพูดในสิ่งที่พวกเจ้าไม่ปฏิบัติ
(สูเราะฮฺอัศ-ศ็อฟ 61 : 3)

          และความรู้ที่มากมายของเขานั้น ก็อันเนื่องมาจากความฉลาดและสภาพที่ดีจากอัลลอฮ ซึ่งทำให้เขาเข้าใจ(ในสิ่งต่างๆ)ได้อย่างง่ายดาย ท่องจำและซึมซับความรู้ได้เร็ว

ความรู้ศาสนา คือ หน้าตา?

          นี่คือความผิดพลาดที่จะต้องได้รับการแก้ไข บางคนในหมู่พวกเราแสวงหาความรู้ เพื่อชื่อเสียง เพื่อให้ได้รับตำแหน่งของผู้ทรงความรู้ ได้รับการเคารพนับถือและยอมรับในความรู้ของเขาจากผู้คน เราจะต้องปลูกฝังอย่างเข้มงวดว่า เราจะต้องแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนามารยาทของเราให้สวยงามขึ้นและพัฒนาอาม้าลของเราให้ดีและเพิ่มมากขึ้น

          ท่านอิบนุล กอยยิม เราะหิมะฮุลลอฮ กล่าวว่า

          "หนึ่งในสัญญาณแห่งความสุขและความสำเร็จ คือ เมื่อความรู้ของบ่าวคนหนึ่งเพิ่มพูนขึ้น ความอ่อนน้อมถ่อนตนและความรัก(ต่ออัลลอฮและเราะสูล)ของเขาก็เพิ่มพูนเช่นกัน และอาม้าลของเขาก็เพิ่มพูนขึ้นด้วย อีกทั้ง ยังทำให้เขาเกิดความยำเกรงและความหวั่นกลัวมากขึ้นด้วย"(อัล-ฟะวาอิด หน้า 171 มักตะบะฮฺ อัษ-ษะกอฟีย์)

ยุ่งอยู่กับความรู้ในวิชาฟิกฮฺและอุศูล จนลืมความรู้ว่าด้วยมารยาทที่ดีงามและการขัดเกลาจิตใจ

          ซึ่งเราจำเป็นต้องเรียนรู้ควบคู่ไปด้วยเช่นกัน พวกเราบางคนยุ่งกับการเรียนรู้วิชาฟิกฮฺ , อุศูลตัฟสีร อุศูลฟิกฮฺ , มุศเฏาะลาหฺ หะดีษ ซึงจะทำให้เขาได้รับตำแหน่งที่มีเกียรติ ได้รับการขานนามว่า "อาจารย์" เป็นที่กลับของทุกคำถามและข้อสงสัย แต่กลับละเลยไม่ใส่ใจต่อการศึกษาความรู้ว่าด้วยมารยาทและจริยธรรมที่งดงาม และการขัดเกลาจิตใจ ดังนั้น จงพยายามพัฒนาจิตวิญญาณและหัวใจของเรา พยายามเรียนรู้ถึงช่องทางต่างๆที่ชัยฏอนจะเข้ามาทำลายมารยาทที่สวยงามของเรา พร้อมกับตระหนักว่า เป้าหมายหนึ่งที่ท่านเราะสูลุลลอฮ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ถูกส่งมา ก็คือ การทำมารยาทของมนุษย์มีความดีงามและสมบูรณ์

          ท่านเราะสูลุลลอฮ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม กล่าวว่า

بُعِثْتُ لِأُتَمِّمَ صَالِحَ الْأَخْلاَقِ

"ฉันถูกบังเกิดขึ้นมาเพื่อทำให้มารยาทที่ดีงาม(ของมนุษย์)มีความสมบูรณ์"
(บันทึกโดย อัล-หากิม และอิมามอัซ-ซะฮะบีย์และชัยคฺอัล-อัลบานีย์รับรเองว่า เศาะฮีหฺ)

มารยาทที่ดีงามคือแขนงหนึ่งของอะกีดะฮฺ(หลักศรัทธา)

          ดังนั้น เราจึงละเลยต่อการเรียนรู้มารยาทที่ดีงามมิได้ ท่านชัยคุล อิสลาม อิบนุ ตัยมียะฮฺ เราะหิมะฮุลลอฮ ได้ระบุไว้ว่า มารยาทที่ดีงามนั้นคือส่วนหนึ่งของหลักศรัทธา โดยท่านได้กล่าวว่า

          "และพวกเขา(หมายถึง ฟิรเกาะตุล นาญิยะฮฺ อะฮฺลุสสุนนะฮฺ วัลญะมาอะฮฺ) เรียกร้องไปสู่มารยาทที่สวยงามและการงานที่ดี พวกเขายึดมั่นในคำกล่าวของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ที่ว่า "ผู้ที่อีมานของเขาสมบูรณ์ยิ่งจากบรรดาผู้ศรัทธานั้น คือ ผู้ที่มีมารยาทที่งดงามยิงในหมู่พวกเขาเอง" และพวกเขาจะเชิญชวนท่านเพื่อสานสัมพันธ์ไมตรีมิตรกับผู้ที่ตัดขาดสายสัมพันธ์กับท่าน และให้พวกท่านมอบสิ่งดีงามแก่ผู้ที่มิได้มอบ(สิ่งดีงาม)ให้แก่ท่าน และให้ท่านอภัยต่อผู้ที่อธรรมต่อตัวท่าน และอะฮฺลุสสุนนะฮฺ วัล ญะมาอะฮฺ จะสั่งใช้ให้กตัญญูต่อพ่อแม่ สานสัมพันธ์เครือญาติ ทำดีต่อเพื่อนบ้าน ทำดีต่อเด็กกำพร้า คนยากจน และผู้เดินทาง มีความอ่อนโยนต่อเด็กๆ พวกเขาจะห้ามปรามการหยิ่งยโสและโอหัง อีกทั้งห้ามการอธรรมและการเป็นปรปักษ์กับคนอื่นๆไม่ว่าจะโดยมีสาเหตุหรือไม่มีก็ตาม พวกเขาสั่งใช้ให้มีมารยาทที่ดีเลิศ และสั่งห้ามการมีมารยาทที่ต่ำต้อยและเลวทราม"(ดู มะตัน อะกีดะฮฺ อัล-วะเศาะฏิยยะฮฺ)

สำหรับผู้ที่ "เรียน" ศาสนา ชัยฏอนจะมุ่งเป้า(ในการหล่อลวง)ไปที่มารยาท ไม่ใช่อะกีดะฮฺ

          สำหรับผู้ที่เรียนศาสนา ที่ได้ศึกษาความรู้วิชาเตาฮีดและอะกีดะฮฺแล้ว เรียนรู้สุนนะฮฺ เรียนรู้การกระทำที่เป็นมะศิยะฮฺทั้งหลายแล้ว ชัยฏอนจะไม่สามารถหล่อลวงเขาให้กระทำการชิรกฺ ทำบิดอะฮฺ ทำมะอฺศิยะฮฺได้(อินชาอัลลอฮ) แต่ชัยฏอนจะ(เปลี่ยนเป้าหมายและ)พยายามบ่อนทำลายมารยาทของเขา ชัยฏอนจะหว่านล้อมให้เขามีความอิจฉา ริษยา หยิ่งยโส หลงตนเอง และพฤติกรรมที่หยาบช้าอื่นๆ

          ชัยฏอนจะพยายามหาวิธีการและช่องทางต่างๆเพื่อทำให้มนุษย์หลงผิด หัวหน้าของชัยฏอน ก็คือ อิบลีส มันสาบานว่าจะกระทำเช่นนั้น ครั้นเมื่ออัลลอฮได้ตัดสินและขับไล่มันออกจากสวรรค์ อิบลีสก็กล่าวตอบว่า

قَالَ فَبِمَا أَغْوَيْتَنِي لأَقْعُدَنَّ لَهُمْ صِرَاطَكَ الْمُسْتَقِيمَ ثُمَّ لآتِيَنَّهُم مِّن بَيْنِ أَيْدِيهِمْ وَمِنْ خَلْفِهِمْ وَعَنْ أَيْمَانِهِمْ وَعَن شَمَآئِلِهِمْ وَلاَ تَجِدُ أَكْثَرَهُمْ شَاكِرِينَ

มันกล่าวว่า ด้วยเหตุที่พระองค์ได้ทรงให้ข้าพระองค์ตกอยู่ในความหลงผิด แน่นอนข้าพระองค์จะนั่งขวางกั้นพวกเขา ซึ่งทางอันเที่ยงตรงของพระองค์ แล้วข้าพระองค์จะมายังพวกเขา จากเบื้องหน้าของพวกเขา และจากเบื้องหลังของพวกเขาและจากเบื้องขวาของพวกเขา และจากเบื้องซ้ายของพวกเขา และพระองค์จะไม่พบว่าส่วนมากของพวกเขานั้น เป็นผู้ขอบคุณ
(อัล-อะอฺรอฟ 7 : 16-17)

เราต้องการตัวอย่างในเรื่องอัคลาคและตักวา

          เวลานี้ เราไม่ได้ขาดตัวอย่างบุคคลในด้านความรู้ แต่เราขาดและมีความต้องการอย่างยิ่งยวดซึ่งบุคคลที่เป็นแบบอย่างในเรื่องอัคลาคและตักวา โดยเฉพาะอย่างยิ่งบรรดาอาจารย์และชัยคฺทั้งหลายที่จะต้องทำหน้าที่เป็นตัวอย่างที่ชัดเจนในเรื่องอัคลาคที่ดีงาม

          และสิ่งหนึ่งที่ต้องจดจำไว้ สิ่งแรกที่เราจะสมควรรับมาจากผู้ที่เราศึกษาเรียนรู้วิชาจากเขา ก็คือ อัคลาคและจริยธรรม แล้วจึงค่อยรับความรู้จากเขา มารดาของท่านอิมามมาลิก เราะหิมะฮุลลอฮ มีความเข้าใจในเรื่องนี้เป็นอย่างย่ิงในการเลี้ยงดูลูกของตนเอง ท่านให้ความสำคัญในต่อเรื่องนี้แก่ลูกชายของตน ครั้นจะเดินทางไปแสวงหาความรู้ ท่านอิมามมาลิก เราะหิมะฮุลลอฮ ได้เล่าไว้ว่า

          "ฉันกล่าวกับมารดาของฉันว่า "ผมจะไปหาความรู้" "มานี่ก่อน" มารดาของฉันกล่าว "ใส่เสื้อผ้าแห่งความรู้ก่อน" แล้วมารดาของฉันก็สวมเสื้อมิสมะเราะฮฺแก่ฉัน และวางหมวกไว้บนศรีษะของฉัน แล้วท่านก็ผูกผ้าสาระบั่นบนหมวกใบนั้น แล้วท่านก็กล่าวว่า "ตอนนี้ ก็ไปหาความรู้ได้แล้วล่ะ!!" แล้วท่านยังเคยกล่าวว่า "จงไปหารอบิอะฮฺ(อาจารย์ของอิมามาลิก)เถิด! และจงเรียนรู้มารยาทของเขา ก่อนที่เจ้าจะรับความรู้จากเขา!!"(วะเราะสะตุล อัมบิยาอ์ , จากวารสาร อัช-ชะรีอะฮฺ ฉบับที่ 45/6/1429 หน้า 76-78)

          ในความเห็นที่ 3 (ข้างบน)ที่ว่า

"มองเขาทีไร ทำให้ฉันนึกถึงอาคิเราะฮฺทุกทีเลย"

          สิ่งนี้แหล่ะที่เราต้องการให้มีขึ้น(ในสังคมของเรา)ให้มาก บรรดาอุละมาอ์ เช่น ท่านอิบนุล กอยยิม เราะหิมะฮุลลอฮ ได้กล่าวว่า

          เมื่อใดที่พวกเราประสบกับสภาวะของความหวาดผวา หรือมีความคิดที่ไปในทางที่ไม่ดี และรู้สึกว่าแผ่นดินที่เราอาศัยอยู่นี้คับแคบไปหมด เราก็จะไปหาท่าน(อิบนุ ตัยมียะฮฺ) และแค่เพียงได้เห็นและสดับฟังคำตักเตือนของท่าน ความรู้สึกต่างๆ ที่วนเวียนอยู่ในใจก็จะมลายหายไป ความสงบสุขของจิตใจ ความเข้มแข็ง และความเชื่อมั่นก็จะเข้ามาแทนที่ มหาบริสุทธิ์แด่องค์อัลลอฮฺผู้ทรงให้บ่าวของพระองค์สัมผัสกับสวนสวรรค์ก่อนที่จะได้เจอมันจริงๆ และทรงเปิดประตูของมันในโลกแห่งการปฏิบัติ ทรงประทานลมรำเพยของมันและกลิ่นไอของมัน ที่อบอวลหอมหวานเป็นแรงขับเคลื่อนให้เกิดพลังที่จะบรรลุและแข่งขันกันเพื่อให้ได้ซึ่งสวนสวรรค์นั้น(อัล-วาบิลฺ อัศ-ศ็อยยิบ หน้า 48 พิมพ์ครั้งที่ 3 , ดารุลหะดีษ , มักตะบะฮฺ ชามิละฮฺ)

"เรียน" มาก็นานมาแล้ว แต่ก็ยังแก้ไขมารยาทได้สักที?

          แน่นอนว่าการปรับปรุงมารยาทให้ดีขึ้นนั้น คือ สิ่งที่ไม่ง่ายและต่างอาศัยความพยายามและการต่สู้ที่เข้มแข็ง บรรดาอุละมาอ์เองก็ใช้เวลานานเป็นปีๆเพื่อปรับปรุงมารยาทของตนเองให้ดีขึ้น

          ท่านอับดุลลอฮ บิน มุบาร็อก เราะหิมะฮุลลอฮ กล่าวว่า

طلبت الأدب ثلاثين سنة وطلبت العلم عشرين سنة كانوا يطلبون الأدب ثم العلم

"ฉันเรียนรู้มารยาทเป็นเวลา 30 ปี และศึกษาความรู้(ศาสนา) 20 ปี และพวกท่าน(อุละมาอ์สะลัฟ) จะเริ่มต้นการสอนของพวกท่านด้วยการศึกษามารยาทต่างๆก่อน แล้วจึงค่อยศึกษาความรู้อื่นๆ"
(เฆาะยาตุน นิหายะฮฺ ฟี เฏาะบำกอต อัล-กุรรอ 1/446 พิมพ์ครั้งที่ 1
มักตะบะฮฺ อิบนุ ตัยมียะฮฺ , มักตะบะฮฺ ชามิละฮฺ)

          และเราก็ต้องศึกษาเรียนรู้(ศาสนา)เพื่อปรับปรุงมารยาทของเรา เพราะความรู้ศาสนาที่ถูกต้องนั้นจะไม่เข้าและประทับอยู่ในคนใดคนหนึ่ง ที่หัวใจของเขามีความโสโครกเกาะติดอยู่(เพราะแท้จริง ความรู้คือรัศมีของอัลลอฮ และมันอยู่ร่วมกับสิ่งโสโครกไม่ได้-ผู้แปล-)

          อิมาม อัล-เฆาะซาลีย์ เราะหิมะฮุลลอฮ กล่าวว่า

          "เมื่อก่อนนั้น เรามิได้เรียนวิชาเพื่ออัลลอฮ สุบหานะฮุ วะตะอาลา แต่ทว่า ความรู้ไม่ยินยอม(ให้เราศึกษามัน) เว้นแต่เพื่ออัลลอฮเท่านั้น"(เฏาะบะกอต อัช-ชาฟิอิยยะฮฺ จากงานเขียนของอุซตาซ คอลิด ชัมฮุดีย์ , วารสารอัส-สุนนะฮฺ)

          ดังนั้น ความรู้ศาสนาอาจจะไม่ให้ประโยชน์ใดๆแก่เราหรืออาจจะปรับปรุงเปลี่ยนตัวเราได้ หากเราได้ศึกษาเรียนรู้ความรู้ศาสนาต่อไป(ด้วยความจริงใจ) ความรู้ดังกล่าวก็จะปรับปรุงมารยาทและบุคลิกภาพของเรา อินชาอัลลอฮ

เรามาปรับปรุงมารยาทเพื่องานดะอฺวะฮฺกันเถิด

"คนสะละฟีย์นั้นความดีของเขาดีมาก
มีวิชาการกินกับปัญญา(มีเหตุผล) แต่ว่าแข็งกระด้างและชอบเอาชนะ"
(คำสารภาพของพี่น้องบางคนต่อผู้เขียน)

          เพราะมารยาทที่ไม่ดี คนจำนวนมากจึงเข้าใจว่าการดะอฺวะฮฺของอะฮฺลิสสุนนะฮฺ นั้นคือ การดะอฺวะฮฺที่แข็งกระด้าง หยาบคาย และต้องการเอาชนะลูกเดียว จนทำให้หลายๆคนปฏิเสธและหนีห่างจากการดะอฺวะฮฺ และทำให้การดะอฺวะฮฺประสบกับความล้มเหลว อันเนื่องมาจากมารยาทที่เสื่อมถอยของดาอีย์คนนั้น ทั้งๆที่ท่านเราะสูลุลลอฮ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ได้กล่าวว่า

يَسِّرُوا وَلَا تُعَسِّرُوا وَبَشِّرُوا وَلَا تُنَفِّرُوا

"จงทำให้ง่ายดาย และอย่าสร้างความลำบาก จงแจ้งข่าวดีและอย่าทำให้ผู้คนหนีห่าง"
(บันทึกโดย อัล-บุคอรีย์ กิตาบุลอิลมี หมายเลขหะดีษที่ 69)

          และเพราะมารยาทที่เสื่อมเสียอีกเช่นกันที่ทำให้อะฮฺลุสนนะฮฺเกิดความแตกแยก ด่าทอ และหนีห่างจากกัน สาเหตุของความแตกแยกก็คือ ความอิจฉาริษยา ทั้งคณะอาจารย์และลูกศิษย์ ดังนั้น เราจึงจำเป็นต้องนำเสนอและฉายภาพประวัติศาสตร์แห่งอิสลามและการดะอฺวะฮฺที่เคยยิ่งใหญ่ อันเนื่องจากมารยาทที่สวยงามของนักดาอีย์ต่อผู้คน

อย่าลืมขอดุอาอ์ให้เรามีอัคลาคที่ดีงาม

          จากท่านอลี บิน อบี ฏอลิบ เราะฎิยัลลอฮุอันฮฺ กล่าวว่า ท่านเราะสูลุลลอฮ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ท่านได้กล่าวดุอาอ์บทหนึ่งว่า
                                                                               
,أَللَّهُمَّ اهْدِنِيْ لِأَحْسَنِ الأَخْلَاقِ, فَإِنَّهُ لَا يَهْدِيْ لِأَحْسَنِهَا إِلَّاأَنْتَ
وَاصْرِفْ عَنِّيْ سَيِّئَهَالَايَصْرِفُ عَنِّيْ سَيِّئَهَاإِلَّاأَنْتَ

"โอ้อัลลอฮ ขอพระองค์ทรงชี้แนะนำทางข้าพระองค์มีมารยาทที่ดีงาม
เพราะแท้จริง ไม่มีใครที่จะชี้แนะนำทางข้าพระองค์สู่ความดีงามของมันได้ เว้นแต่พระองค์เท่านั้น
และขอพระองค์ทรงห่างไกลข้าพระองค์จากมารยาทที่ชั่วร้าย
เพราะแท้จริง ไม่มีใครที่จะห่างไกลข้าพระองค์จากความชั่วร้ายของมันได้ เว้นแต่พระองค์เท่านั้น"
(บันทึกโดย มุสลิม 771 , อบูดาวูด 760 และติรมีซีย์ 3419)

และดุอาอ์ขอให้ห่างไกลจากมารยาที่ไม่ดี

اللَّهُمَّ إِنِّى أَعُوذُ بِكَ مِنْ مُنْكَرَاتِ الأَخْلاَقِ وَالأَعْمَالِ وَالأَهْوَاءِ

"โอ้อัลลอฮ ข้าพระองค์ขอความคุ้มครองต่อพระองค์ท่านจากมารยาท อาม้าล และความใคร่ที่ชั่วร้าย"
(บันทึกโดย ติรมีซีย์ หมายเลขหะดีษที่ 3591 ชัยคฺอัล-อัลบานีย์รับรองว่า เศาะฮีหฺ ในเซาะลาลุล ญันนะฮฺ : 13)

          หวังว่า อัลลอฮจะทรงทำให้เจตนาของผมบรรลุผลและทรงปรับปรุงมารยาทของผมให้ดีงาม



https://www.facebook.com/notes/zunnur-abu-hanzalah/%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99-%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%A7-%E0%B9%81%E0%B8%95%E0%B9%88-%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%97-%E0%B8%81%E0%B9%87%E0%B8%A2%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%82%E0%B8%B6%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%97%E0%B8%B5/293460014001840
.

Tidak ada komentar:

Posting Komentar